Related News



































Mekong Institute’s Post


    In celebration of International Day of Happiness (March 20) and the World Water Day (March 22), the International Research Associate for Happy Societies (IRAH) organized an online international dialogue on ‘Water, Happiness, and Conscious Cooperation for Peaceful and Prosperous Mekong River Basin’ today. A panel of experts discussed on the directions for promoting sustainable water resources and happiness, as well as peaceful cooperation, which will improve quality of life of people in Mekong River Basin.


Mekong River Commission Secretariat’s Post


     CEO Anoulak was pleased to join the conversation with the International Research Associates for Happy Society (IRAH), an independent and not-for-profit organization of dedicated professionals voluntarily working to promote happiness and well-being, in order to mark the International Day of Happiness and the World Water Day. 




























The Mighty Mekong: Victim or Winner of Regional Politics?


     September 29, 2020 — Dr. Susanne Schmeier, senior lecturer in water law and diplomacy at IHE Delft, introduces this webcast highlighting key water and related issues at the global level and in Asia in particular, followed by a discussion on water diplomacy in the Mekong region with Dr. Anoulak Kittikhoun, chief strategy and partnership officer of the Mekong River Commission (MRC) Secretariat; and Apichai Sunchindah, an independent development specialist with interest in the Mekong region and Southeast Asia. This webcast was co-hosted by the IHE Delft Institute for Water Education. (47 min., 1 sec.)


บทความเนื่องในวันความสุขสากล 2563 "ทำใจให้มีสุข ในยุคโควิด 19"


     วันความสุขสากล 20 มีนาคม ปี2563 นี้ อยู่ในช่วงของสถานการณ์ปัญหาโควิด-19 ที่เป็นโรคระบาดของโลกไปแล้ว ท่ามกลางความวุ่นวายของปํ ญหาที่กําลังถาโถมเข้าหาผู้คนในหลายมุมโลก เราก็ต้องปรับตัวและพยายามดูแลตนเองและรับผิดชอบต่อสังคมให้ดีที่สุด อย่างไรก็ตาม การปรับวิถีชีวิตและวิธีการทํางานอันเนื่องมาจากปัญหาโควิด-19 ที่ดูจะรุนแรงมากชึ้นเรื่อยๆนี้ แม้จะทําให้ชีวิตมีข้อจํากัดอยู่บ้าง  อ่านต่อ

















ความสุขจากความ "พอ" (โพสต์ทูเดย์)

 
     วันความสุขสากล 20 มี.ค. 2562 คำว่า "ความสุข" อาจมีคนให้คำนิยามหรือความหมายแตกต่างกันไป ตามแนวคิด วัฒนธรรม และมุมมองที่ต่างกัน บางคนอาจคิดว่าความสุขเกิดจากการที่ได้ในสิ่งที่ต้องการ ซึ่งมนุษย์มีความต้องการที่ไม่สิ้นสุด   อ่านต่อ



ความสุขจากความ "พอ" (ไทยโพสต์)

 
     คำว่า "ความสุข" อาจมีคนใหคำนิยาม หรือความหมายแตกต่างกันไปตามแนวคิด วัฒนธรรม และมุมมองที่ต่างกัน บางคนอาจคิดว่าความสุขเกิดจากการที่ในสิ่งที่ต้องการ ซึ่งมนุษย์มีความต้องการที่ไม่สิ้นสุด ความสุขแบบนั้นจึงต้องขึ้นกับการพยายามหาสิ่งมาตอบสนองความต้องการอยู่ตลอดเวลา   อ่านต่อ


วันความสุขสากล (International Happiness Day) ของสหประชาชาติ ที่ตรงกับวันที่ 20 มีนาคมของทุกๆปี เป็นวันหนึ่งที่จะช่วยให้เกิดการตระหนักถึงการทาให้สังคมและผู้อื่นมีความสุขร่วมกัน บทความนี้จึงอยากจะสะท้อนผลของการวิจัยหนึ่งโดยผู้เขียน เกี่ยวกับเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อความสุข ซึ่งผลจากการวิจัยนี้พบว่า การให้ หรือการเอื้อเฟื้อช่วยเหลือผู้อื่นทาให้คนมีความสุขได้ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดใน World Happiness Report 2018 ที่มีองค์ประกอบหนึ่งของความสุขคือ Generosity หรือ ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้แก่บุคคลอื่น ดังนั้น เนื่องในวันความสุขสากลของปีนี้ จึงอยากเน้นในเรื่อง ความสุขจากการให้  ดาวโหลด







“Sustainable Happiness and Sustainable  Development” International Forum for the UN International Day of Happiness


 BY Sauwalak Kittiprapas

 DOWNLOAD


 นโยบายสาธารณะเพื่อความสุข...สิ่งที่ขาดหาย !

 โดย ดร. เสาวลักษม์ กิตติประภัสร์

 เครือข่ายงานวิจัยนานาชาติเพื่อสังคมอยู่เย็นเป็นสุข (IRAH)

 

ช่วงนี้พรรคต่างๆก็หาเสียงพูดถึงนโยบายที่จะทำให้ประชาชนมีความสุขในหลายแง่หลายจุด จึงอยากให้มุมมองทางวิชาการว่านโยบายเหล่านั้นสอดคล้องกับการสร้างความสุขให้กับประชาชนในส่วนใหนบ้างอย่างไร 

อ่านต่อ...

 

  "ความสุข" ที่ต้องพัฒนาให้สูงขึ้นและยั่งยืน

 

โดย ดร.เสาวลักษม์ กิตติประภัสร์

 

ในช่วงเทศกาลแห่งความสุขหรือการส่งความสุขของปีนี้ จะเป็นการดีไม่น้อยหากเราได้มาทบทวนถึงความหมายของความสุข และชีวิตที่มีความสุขกัน ซึ่งจะทำให้ได้ขบคิดถึงการพัฒนาที่เน้นความสุข และการวัดความสุขเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนากันว่าควรเป็นไปอย่างไร

 

อ่านต่อ


 

"Well-being: What Does It Mean?  Some messages from 10th ISQOLS conference"

 

 

By Onnicha Sawangfa

 December 13, 2010, Bangkok

 

How does one know he or she make a progress in life?  How does one know he or she has a good life?  Is it a high income?  Is it a prosperous and exciting career?  Is it a happy marriage and a warm family?  Is it a good education?  Is it a healthy self?  Is it none of the above?  Or is it all of the above?  If the answer is all of the above, then what is more important to you?  Would you trade health with income?  Would you sacrifice a happy family for long working hours and prosperous career 

 

Read more ...

 


 

ชีวิตที่ดีคืออะไร? แต่ที่แน่ ๆ การมีเงินมาก ไม่ได้หมายความว่าความ  สุขจะเพิ่มขึ้น

 

 

โดย อรณิชา สว่างฟ้า เครือข่ายงานวิจัยนานาชาติเพื่อสังคมอยู่เย็นเป็นสุข (ไอร่าห์)

 คุณรู้ได้อย่างไรว่าชีวิตคุณก้าวหน้าขึ้น?

คุณรู้ได้อย่างไรว่าคุณมีชีวิตที่ดี?

 เมื่อคุณมีรายได้สูง?

 เมื่อคุณมีอาชีพการงานที่น่าตื่นเต้น และเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว?

 เมื่อคุณมีชีวิตแต่งงานที่มีความสุข และชีวิตครอบครัวที่อบอุ่น?

 เมื่อคุณมีการศึกษาที่ดี? เมื่อคุณมีสุขภาพที่แข็งแรง? ไม่ได้เกี่ยวข้องกับเรื่องพวกนี้เลย? หรือเรื่องพวกนี้ทุกข้อสำคัญสำหรับคุณ?

 

อ่านต่อ...

 


 

นักวิชาการแนะ "สะสมความสุข" ต้องพัฒนาให้มีมาก ต่างชาติเลือกไทยจัดประชุมความก้าวหน้า "ดัชนีวัดความสุข" 

 

เมื่อวันที่ 3 ธ.ค. 2553 ดร.เสาวลักษม์ กิตติประภัสร์ เครือข่ายงานวิจัยนานาชาติเพื่อสังคมอยู่เย็นเป็นสุข (ไอราห์) กล่าวในหัวข้อ "ตัวชี้วัดความสุข" ในการประชุมวิชาการประจำปีจิตตปัญญาศึกษาครั้งที่ 3  ความสุขกับการเปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐานของมนุษย์ว่าดัชนีความสุขวัดได้หลายทาง

อ่านต่อ...